วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 13
วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2557
นำเสนอวิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Scientific Research for Early Childhood
วิจัยเรื่องที่ 1 : การส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา
ผู้วิจัย :  นางสาวจุฑารัตน์    วรรณศรียพงษ์
วัตถุประสงค์ของการทำวิจัย
  1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสังเกตสิ่งต่างๆได้ดีขึ้น
  2. เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
  1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
  2. เกมจับคูภาพกับเงา
  3. เกมภาพตัดต่อ
  4. เกมสังเกตรายละเอียดของภาพ (เกมการสังเกต)
สรุปผลการวิจัย
  • จากการส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษาพบว่าเด็กมีทักษะการสังเกตที่สูงขึ้น
วิจัยเรื่องที่ 2 : ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
ผู้วิจัย : ศศิพรรณ สำแดงเดช
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
  1. แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
  2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนกประเภท
  3. ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
วิจัยเรื่องที่ 3 : การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย : ชยุดา พยุงวงษ์
ความมุ่งหมายของการวิจัย
  1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
  2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองและหลังทดลอง
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนกประเภท
  3. ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
  4. ทักษะการลงความเห็น
  5. ทักษะการพยากรณ์
วิจัยเรื่องที่ 4 : ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย : ยุพาภรณ์ ชูสาย , ดร.สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์ , ชูศรี วงศ์รัตนะ
ความมุ่งหมายของการวิจัย
  1. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  2.  เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต 
  2. ทักษะการจำแนกประเภท
  3. ทักษะการหามิติสัมพันธ์
  4. ทักษะการลงความเห็นข้อมูล
คำสำคัญ
  1. ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  2. กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
วิจัยเรื่องที่ 5 : การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย : สายทิพย์  ศรีแก้วทุม
เครื่องมือที่ใช้
  • แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ 40 แผน (8 สัปดาห์)
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนก
  3. ทักษะการวัดปริมาณ
  4. ทักษะการลงความเห็น
  5. ทักษะการลงมิติสัมพันธ์
 วิจัยเรื่องที่ 6 : การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย : เสกสรร มาตวังแสง
ความมุ่งหมายของการวิจัย
  1. เพื่อศึกษาระดับการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากกิจกรรมวิทยาศาสตร์โดยจำแนกรายด้าน ดังนี้ การวิเคราะห การใชเหตุผล การสังเคราะห การประเมินคา
  2. เพื่อเปรียบเทียบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการฟัง
  2. ทักษะการสังเกต
  3. ทักษะการคิดแก้ปัญหา
  4. ทักษะการใช้เหตุผล
วิจัยเรื่องที่ 7 : การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย : สายพิทย์  ศรีแก้วทุม
เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย
  1. แบบทดสอบวัดความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล 5 ชุด
  2. แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  3. แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์แบบปกติ
  4. แบบทดสอบการคิดอย่างมีเหตุผล
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนก
เทคนิคการสอน
  1. การให้นักศึกษานำเสนอวิจัยหน้าชั้นเรียน
  2. การจำคำสำคัญของวิจัย
  3. การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
  4. การสรุป หาประเด็นที่สำคัญของงานวิจัย
การนำความรู้ไปใช้
  1. การที่เราจับประเด็นงานวิจัย ว่าเขาทำเพื่ออะไร และนำไปใช้อย่างไรสามารถนำมาใช้กับเด็กปฐมวัยได้
  2. ประโยชน์ของคำสำคัญของงานวิจัยนั้น ทำให้เรารู้ว่าวิจัยเรื่องนี้ต้องการอะไร หรือเวลาที่ไปหางานวิจัยจะได้สะดวกแก่การจดจำชื่อวิจัย
  3. นำวิจัยที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยมาปรับใช้ได้ให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก
การประเมิน
  • ตนเอง : 100% เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อยรองเท้าถอดวางเป็นระเบียบหน้าห้องเรียน ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์ได้อธิบายงานวิจัยเพิ่มเติม เปิดโอกาสให้ได้ซักถามเกี่ยวกับงานวิจัยเรื่องนั้นๆ
  • เพื่อน : 100% มีเพื่อนบางส่วนที่เข้าเรียนช้า เพื่อนตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน มีโต้ตอบ สนทนาพูดคุยกับอาจารย์เวลาอาจารย์ถาม เพื่อดูว่าเราเข้าใจไหม
  • อาจารย์ : 100% เข้าสอนตรงเวลา อาจารย์เปิดโอกาสให้ได้ถาม มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยที่เพื่อนไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น