ครั้งที่ 8
วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2557
การประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์
ความรู้ที่ได้รับ (knowledge)
การนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์ (Objective)
- เด็กสามารถทำตามได้ง่ายๆ มีขั้นตอนที่ไม่ซับซ้อน
- ได้รับประสบการณ์ Science
- ใช้วัสดุเหลือใช้ ได้เกิดความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ : Cick
- ตอบคำถาม สนับสนุนความคิดเห็นของเด็ก
Science Toy : แก้วเกิดเสียง
- วัสดุ / อุปกรณ์
2. คลิปหนับกระดาษ (Paper Clips)
4. คัตเตอร์ (Cutter)
5. น้ำ (Water)
- ขั้นตอนการทำ
ข้อควรระวัง : ให้คุณครูหรือผู้ปกครองทำให้ เพราะอาจเกิดอันตรายต่อเด็กได้
2. ได้รูที่เป็นวงกลมตามที่ต้องการ จากนั้นนำคลิปหนีบกระดาษมาหนีบที่หลอดตามรูป
3. นั้นหลอดไปแหย่ใส่รูที่แก้ว ที่เจาะไว้แล้ว
5. ตัดขนาดของแก้วโดยใช้คัตเตอร์ให้แตกต่างกัน โดยมี ขนาดสั้นและขนาดกลาง
6. ตัดหลอดให้มี ขนาดสั้นและขนาดกลาง ขนาดของแก้วเท่ากัน
วิธีการเล่น (How to play)
สาเหตุที่แก้วเกิดเสียงได้ : เป็นเพราะว่าเรารูดนิ้วที่หลอด หลอดจะเกิดการสั่นสะเทือนทำให้เกิดคลื่นเสียงโดยมีแก้วที่มีช่องว่างตรงกลาง ทำหน้าที่ขยายเสียงให้ดังก้องมากขึ้น และจากการที่คลื่นเสียงกระทบผนังแก้วและก็สะท้อนกลับไปมา ก็ทำให้เสียงเกิดนานขึ้นด้วย
Friends fo Science Toy
- ลูกข่างหลากสี
- ไก่กระต๊าก
- ขวดผิวปาก : เด็กสามารถทำได้เองบางขั้นตอน
- กระป๋องโยกเยก
- ดินสอกังหันลม
- หลอดปั้มน้ำ : เหมาะกับการทดลอง (Experiment)
- ไหมพรมเต้นระบำ
- กล้องส่องทางไกล (มี 2 สี ได้แก่ Blue Color and Red Color)
- กลองลูกโป่ง
- หลอดหมุนได้
- ตุ๊กตาล้มลุก
- ลูกปิงปองหมุนติ้วๆ
- เรือใบ
- วงกลมหรรษา : เหมาะกับกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (Experience-Enhancement Activities)
- รถพลังลม
- แผ่น CD หมุนติ้ว
- ลูกข่างหรรษา
- นาฬิกาน้ำ : เหมาะกับกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (Experience-Enhancement Activities) และมุม Science
- เสียงพรุ
- ปืนลูกโป่ง
- หนูน้อยกระโดดร่ม
- ขวดหนังสติก
- คลื่นทะเลขวด
- เหวี่ยงมหาสนุก
- แท่นยิงลูกบอลจากไม้ไอศครีม
- เครื่องร่อนวงแหวน
- รถแข่ง
- หลอดเสียง สูง - ต่ำ
- โทรศัพท์จากแก้วพลาสติก
- น้ำเปลี่ยนสี
- หนังสติกหรรษา
- แม่เหล็กตกปลา
- เชียร์ลีดเดอร์
- นักดำน้ำ
- ลานหรรษา
- ปิ๊งป่อง
- กระป๋องบูมเมอแรง (Boomerang)
- แมลงปอหมุน
- กบกระโดด
- แก้วส่งเสียง
- เป่าให้ลอย
- หนังสติ๊กไม้ไอศครีม
- แมงกะพรุน (Jellyfish)
- มหัศจรรย์ฝาหมุน
- แก้วกระโดด
- กังหันไฟฟ้าสถิต (Static Electricity)
- เครื่องบินกระดาษ (Paper Plane)
เทคนิคการสอน (Teaching methods)
- ส่งเสริมหาความรู้เพิ่มเติมมาสนับสนุนสื่อ
- เปิดโอกาศให้ถามคำถาม
- การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS)
การนำไปประยุกต์ใช้ (Applications)
- สื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ต้องง่าย ไม่ซับซ้อน เด็กสามารถทำเองได้
- การนำสิ่งของเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่เกิดประโยชน์ หรือ รียูส (Reuse)
- การประดิษฐ์ได้รับทั้งความรู้ ประสบการณ์ และการแก้ไขปัญหา
- ส่งเสริมในด้านความคิดสร้างสรรค์
ประเมินการเรียนการสอน (Assessment)
- ตนเอง : 95% แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเรียนตรงเวลา ร่วมตอบคำถามในชั้นเรียน
- เพื่อน : 90% ทุกคนตั้งใจทำสื่อ มีความคิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์ชิ้นงานของตนเอง มีความเตรียมพร้อม
- อาจารย์ : 98% เข้าสอนตรงเวลา เพิ่มเติมความรู้ให้กับนักศึกษาในการประดิษฐ์สื่อของเล่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น