วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 13
วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2557
นำเสนอวิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Scientific Research for Early Childhood
วิจัยเรื่องที่ 1 : การส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา
ผู้วิจัย :  นางสาวจุฑารัตน์    วรรณศรียพงษ์
วัตถุประสงค์ของการทำวิจัย
  1. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสังเกตสิ่งต่างๆได้ดีขึ้น
  2. เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
  1. เกมจับคู่ภาพเหมือน
  2. เกมจับคูภาพกับเงา
  3. เกมภาพตัดต่อ
  4. เกมสังเกตรายละเอียดของภาพ (เกมการสังเกต)
สรุปผลการวิจัย
  • จากการส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษาพบว่าเด็กมีทักษะการสังเกตที่สูงขึ้น
วิจัยเรื่องที่ 2 : ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
ผู้วิจัย : ศศิพรรณ สำแดงเดช
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
  1. แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
  2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนกประเภท
  3. ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
วิจัยเรื่องที่ 3 : การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย : ชยุดา พยุงวงษ์
ความมุ่งหมายของการวิจัย
  1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
  2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองและหลังทดลอง
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนกประเภท
  3. ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
  4. ทักษะการลงความเห็น
  5. ทักษะการพยากรณ์
วิจัยเรื่องที่ 4 : ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย : ยุพาภรณ์ ชูสาย , ดร.สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์ , ชูศรี วงศ์รัตนะ
ความมุ่งหมายของการวิจัย
  1. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  2.  เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต 
  2. ทักษะการจำแนกประเภท
  3. ทักษะการหามิติสัมพันธ์
  4. ทักษะการลงความเห็นข้อมูล
คำสำคัญ
  1. ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  2. กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
วิจัยเรื่องที่ 5 : การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย : สายทิพย์  ศรีแก้วทุม
เครื่องมือที่ใช้
  • แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ 40 แผน (8 สัปดาห์)
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนก
  3. ทักษะการวัดปริมาณ
  4. ทักษะการลงความเห็น
  5. ทักษะการลงมิติสัมพันธ์
 วิจัยเรื่องที่ 6 : การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย : เสกสรร มาตวังแสง
ความมุ่งหมายของการวิจัย
  1. เพื่อศึกษาระดับการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากกิจกรรมวิทยาศาสตร์โดยจำแนกรายด้าน ดังนี้ การวิเคราะห การใชเหตุผล การสังเคราะห การประเมินคา
  2. เพื่อเปรียบเทียบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการฟัง
  2. ทักษะการสังเกต
  3. ทักษะการคิดแก้ปัญหา
  4. ทักษะการใช้เหตุผล
วิจัยเรื่องที่ 7 : การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย : สายพิทย์  ศรีแก้วทุม
เครื่องมือที่ใช้ในวิจัย
  1. แบบทดสอบวัดความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล 5 ชุด
  2. แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  3. แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์แบบปกติ
  4. แบบทดสอบการคิดอย่างมีเหตุผล
ทักษะที่เด็กได้รับ
  1. ทักษะการสังเกต
  2. ทักษะการจำแนก
เทคนิคการสอน
  1. การให้นักศึกษานำเสนอวิจัยหน้าชั้นเรียน
  2. การจำคำสำคัญของวิจัย
  3. การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
  4. การสรุป หาประเด็นที่สำคัญของงานวิจัย
การนำความรู้ไปใช้
  1. การที่เราจับประเด็นงานวิจัย ว่าเขาทำเพื่ออะไร และนำไปใช้อย่างไรสามารถนำมาใช้กับเด็กปฐมวัยได้
  2. ประโยชน์ของคำสำคัญของงานวิจัยนั้น ทำให้เรารู้ว่าวิจัยเรื่องนี้ต้องการอะไร หรือเวลาที่ไปหางานวิจัยจะได้สะดวกแก่การจดจำชื่อวิจัย
  3. นำวิจัยที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยมาปรับใช้ได้ให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก
การประเมิน
  • ตนเอง : 100% เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อยรองเท้าถอดวางเป็นระเบียบหน้าห้องเรียน ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์ได้อธิบายงานวิจัยเพิ่มเติม เปิดโอกาสให้ได้ซักถามเกี่ยวกับงานวิจัยเรื่องนั้นๆ
  • เพื่อน : 100% มีเพื่อนบางส่วนที่เข้าเรียนช้า เพื่อนตั้งใจฟังที่อาจารย์สอน มีโต้ตอบ สนทนาพูดคุยกับอาจารย์เวลาอาจารย์ถาม เพื่อดูว่าเราเข้าใจไหม
  • อาจารย์ : 100% เข้าสอนตรงเวลา อาจารย์เปิดโอกาสให้ได้ถาม มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยที่เพื่อนไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน

วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 12
วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557


ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาออกมาสอนหน้าห้องเรียนตามหน่วย ดังต่อไปนี้
1. หน่วยกล้วย (ชนิด) 
เพลงกล้วย
กล้วยหวานหวานนั้นมีหลากหลายใครบอกครูได้หนาว่ามีกล้วยอะไร
เพลงสวัสดี
สวัสดีเธอจ๋าสวัสดีชื่นชีวียิ้มแย้มแจ่มใส
มาพบกันวันนี้แสนดีใจรื่นเริงไปร้องรำให้สำราญ
วัตถุประสงค์

  1. บอกชนิด
  2. บอกจำนวน
  3. เปรียบเทียบน้อยกว่ามากกว่า
  4. หมวดหมู่
2. หน่วยไก่ (ลักษณะ)
- สังเกตสีของไก่
- บอกลักษณะไก่เจ้และไก่ต๊อก
- เปรียบเทียบความเหมือนต่าง (สังเกต)
- หาความสัมพันธ์
เพลงหลับตาเสีย

"หลับตาเสียอ่อนเพลียทั้งวันหลับตาฝันเห็นเทวดา
มาร่ายมารำงามขำโสภาพอตื่นขึ้นมาเทวดาหายไป "
3. หน่วยกบ (วงจรชีวิตของกบ L Ife ของกบ )


ภาพวงจรชีวิตของกบ



VDO: วงจรชีวิตของกบ

กบจำศีล: กบเป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวอากาศหนาวเย็นมากและ
น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติแห้งขอดอาหารของกบกบขาดแคลนจะลดหรืออิสลามศึกษากิจกรรมต่างๆลงเพื่อความอยู่รอด กบจึงมุดดินลงไปนอนนิ่ง ๆ ไม่กินอาหาร โดยจะเรียกภาวะนี้ว่า "กบจำศีล"
4. หน่วยปลา (ประโยชน์และข้อพึงระวัง)
- เล่านิทานเรื่อง ชาวประมงกับปลากระพง
 5. หน่วยข้าว (การประกอบอาหาร)
การทำข้าวคลุกไข่
ส่วนผสม Ingredient
  1. น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ  (Fish sauce 2 table spoon)
  2. น้ำมันพืช 2 ช้อนโต๊ะ  (Oil 2 table spoon)
  3. ต้นหอม 2 ช้อนโต๊ะ  (Onion 2 table spoon)
  4. แครท 2 ช้อนโต๊ะ  (Carrots 2 table spoon)
  5. ไข่ไก่ 4 ฟอง  (Egg 2 table spoon)
6.  หน่วยต้นไม้ (ชนิด)
คำคล้องจองเพลงต้นไม้ (Tree Music)
7.  หน่วยนม (ลักษณะ)
- นมมีรูปร่างเปลี่ยนไปตามสถานะที่ใส่
- ไหลจากที่สู่ลงสู่ที่ต่ำ
- นมมีหลายกลิ่น 
8.  หน่วยน้ำ (การอนุรักษ์)
- เล่านิทาน
9.  หน่วยมะพร้าว (การเจริญเติบโต) 
เพลงลมเพลมพัด
ลมเพลมพัด โบกสะบัดพัดมาไวๆ ลมเพลมพัดอะไร ลมเพลมพัดอะไร ฉันจะบอกให้...
10.  หน่วยผลไม้ Fruit (การประกอบอาหาร)

ผลไม้ผัดเนย

ส่วนผสม Ingredient
  1. ข้าวโพด 1 ช้อนโต๊ะ  (Corn 1 table spoon)
  2. สับปะรด 1 ช้อนโต๊ะ (Pineapple 1 table spoon)
  3. เนย 4 ช้อนโต๊ะ (Butter 1 table spoon)
  4. แอปเปิ้ล 1 ช้อนโต๊ะ (Apples 1 table spoon)
  5. ฝรั้ง 1 ช้อนโต๊ะ (Western 1 table spoon)
  6. น้ำผึ้ง (Honey)
  7. นมข้น (Cream)
  8. เยลลี่ (Jelly)


เทคนิคการสอน  (Teaching Techniques)
  1. สร้างข้อตกลงภายในห้องเรียน
  2. สรุป อธิบายเพิ่มเติมจากการสอนของนักศึกษา
การนำไปประยุกต์ใช้ (Applications
  1. นำไปจัดแผนการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
  2. สามารถนำมาบูรณาการในวิชาอื่นได้
ประเมินการเรียนการสอน (Evaluation of teaching)
  • ตนเอง: 100% : แต่งกายสุภาพเรียบร้อยมาเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังเพื่อนที่ออกไปสอนหน้าชั้นเรียน
  • เพื่อน 100% : ทุกคนให้ความตั้งใจในการเรียน ฟังที่เพื่อนสอน เพื่อนที่ไปทำการสอนอาจมีตื่นเต้นบ้างแต่ก็คำแนะนำของอาจารย์มาปรับใช้
  • อาจารย์: 100% : เข้าสอนตรงเวลา มีการสอนที่ดี ให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น

ครั้งที่ 11
วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557


ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
แนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546 ประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่

  1. กรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย 
  2. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย
  3. การออกแบบกิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ปฐมวัย
ศึกษาเพิ่มเติม : แนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย


กิจกรรมภายในห้องเรียน

การทดลองที่ 1 การจม - การลอย

  1. แจกดินน้ำมันให้กับนักศึกษาคนละ 1 ก้อน โดยให้แถวที่ 1 และแถวที่2 ปั้นดินน้ำมันให้เป็นก้อนกลมๆ นำดินน้ำมันที่ปั้นเสร็จเรียบร้อยไปลอยในตู้ที่จัดเตรียมไว้ให้แล้วสังเกตผลว่าเป็นอย่างไร
  2. ส่วนแถวที่ 3,4,5 และแถวที่ 6 ปั้นดินน้ำมันเป็นรูปแบบใดก็ได้ ไม่ให้จม 
  3. นักศึกษาได้สังเกตว่าเป็นเพราะเหตุใดดินน้ำมันถึงลอยน้ำได้


วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม : ดินน้ำมันจมน้ำได้อย่างไร


การทดลองที่ 2 การดูดซึม

  1. ให้นักศึกษาตัดกระดาษให้เป็นรูปดอกไม้แบบใดก็ได้ พร้อมตกแต่ง
  2. จับกลับของดอกไม้ที่วาดเสร็จเรียบร้อยแล้ว มาจับให้ให้ตูมและพับลงให้พอดี
  3. นำดอกไม้ของเราไปลอยให้น้ำ แล้วสังเกตผลที่เกิดขึ้น
  • ดอกไม้กระดาษลอยน้ำ (กระดาษ 100 ปอนด์)
กระดาษคลี่ออกช้า น้ำซึมซับเข้าไปในเยื่อที่มีความโปร่งอยู่แล้ว สีที่ตกแต่งเกิดการละลาย จึงทำให้เกิดการผสมสี

  •  ดอกไม้กระดาษลอยน้ำ (กระดาษ A4)
การดาษคลี่ออกไวมาก มีความสวยงามในขณะที่สีเกิดการผสมกัน
(เป็นการดูดซึม แบบต้นไม้) 
**ควรเลือกกระดาษหลายๆแบบ** 
- แบบซึมซับช้า
- แบบซึมซับไว 

 วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม : ดอกไม้กระดาษลอยน้ำ


การทดลองที่ 3 แรงดันอากาศ

  1. เทน้ำใส่ขวดน้ำพลาสติกที่เตรียมมา โดยเจาะรูไว้ 3 รู คือ ส่วนบน ส่วนกลาง และส่วนล่างพร้อมปิดรูด้วยสก๊อตเทป
  2. อาจารย์ให้นักศึกษาลองทายดูว่า รูส่วนตรงไหนที่น้ำไหลแรงสุด
  3. โดยเริ่มเปิดจากรูบนก่อน จากนั้นรูที่ 2 และรูที่ 3
  4. ผลปรากฏว่าเป็นรูที่ 3 ไหลแรงสุด เพราะเกิดจากแรงดันอากาศด้านบนที่เราได้ปล่อยน้ำไป จึงทำให้อากาศเข้ามาแทนที่




วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม : แรงดันอากาศ


การทดลองที่ 4 กาลักน้ำ


วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม : กาลักน้ำ


การทดลองที่ 5 แก้วครอบเทียน


วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม : แก้วครอบเทียน


การทดลองที่ 6 การหักเหของแสง


วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม : การหักเหของแสง


การประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์ (ศิลปะสร้างสรรค์)





ครั้งที่ 10
วันพฤหัสบดีที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2557

(หยุดวันปิยะมหาราช)


ครั้งที่ 9
วันเสาร์18 ตุลาคม พ.ศ.2557
(เรียนชดเชยวันปิยะมหาราช)

ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เรียนเรื่องการเขียนแผน
  • เนื้อหา โดยใช้เด็กเป็นตัวตั้ง โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เกิดการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทั้ง 4 ด้าน

  1. คณิตศาสตร์ (Mathematics)
- การนับและการบอกจำนวน
- สัญลักษณ์ (แทนค่าด้วยเลขฮินดูอารบิก) 
     2.  ภาษา
- บอกชนิดของ (ชื่อเรื่องที่ทำ)
- ฟังและบอกได้
- ร้องเพลง (Sing)
     3.  การเขียน (Writing)
- วาดรูป (Drawing)
     4.  การอ่าน (Reading)
- วาดและเล่าเรื่องจากภาพ
     5.  วิทยาศาสตร์ (Science)
- การสังเกต (Observation)
- การทดลอง (Trial)
**เกมการศึกษา**
- จับคู่ภาพเหมือน - ต่าง
- การเคลื่อนไหวและจังหวะ
หัวข้อ Mind Map เรื่องผลไม้

  1. ชนิด
  2. ลักษณะ
- สี
- ขนาด 
- รูปร่าง
- รูปทรง
- ส่วนประกอบ
- ผิวสัมผัส 
     3.  การถนอมอาหาร
     4.  ประโยชน์
-  ประโยชน์ทางโภชนาการ
- การแปรรูป
- สร้างรายได้
     5.  ข้อพึงระวัง


สรุป Mind map




เทคนิคการสอน (Teaching methods)
  1. การสอนบูรณาการเชื่อมโยงกับวิชาอื่น
  2. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ที่สมบูรณ์ครบถ้วน
การนำไปประยุกต์ใช้ (Applications) 
  1. การเขียนแผนที่ถูกต้องสมบูรณ์
  2. ส่งเสริมในด้านความคิดสร้างสรรค์
ประเมินการเรียนการสอน (Assessment)
  • ตนเอง : 100% เข้าใจ ขั้นตอนกระบวนการในการเขียนแผนบ้าง 
  • เพื่อน : 100% ทุกคนตั้งใจฟังที่อาจารย์ได้สอน และบอกวิธีการเขียนแผนได้ดี
  • อาจารย์ : 100% อาจารย์อธิบายเนื้อหาการเขียนแผนได้ละเอียดครบถ้วน ชี้แจงรายละเอียดทุกกลุ่ม
ครั้งที่ 8

วันพฤหัสบดีที่  16 ตุลาคม พ.ศ. 2557



Science Toy Invention
การประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์


ความรู้ที่ได้รับ (knowledge)

การนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์ (Objective)
  1. เด็กสามารถทำตามได้ง่ายๆ มีขั้นตอนที่ไม่ซับซ้อน
  2. ได้รับประสบการณ์ Science
  3. ใช้วัสดุเหลือใช้ ได้เกิดความคิดสร้างสรรค์
  4. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ Cick
  5. ตอบคำถาม สนับสนุนความคิดเห็นของเด็ก


Science Toy : แก้วเกิดเสียง

  • วัสดุ / อุปกรณ์
1.  แก้วพลาสติก (Plastic Cup)




2. คลิปหนับกระดาษ (Paper Clips)




3. หลอด (Straw)



4. คัตเตอร์ (Cutter)



5. น้ำ (Water)


  • ขั้นตอนการทำ
1.  นำคัตเตอร์มาเจาะให้เป็นวงกลม พอเหมาะที่จะนำหลอดมาใส่ได้
ข้อควรระวัง : ให้คุณครูหรือผู้ปกครองทำให้ เพราะอาจเกิดอันตรายต่อเด็กได้




2.  ได้รูที่เป็นวงกลมตามที่ต้องการ จากนั้นนำคลิปหนีบกระดาษมาหนีบที่หลอดตามรูป



3.  นั้นหลอดไปแหย่ใส่รูที่แก้ว ที่เจาะไว้แล้ว



5.  ตัดขนาดของแก้วโดยใช้คัตเตอร์ให้แตกต่างกัน โดยมี ขนาดสั้นและขนาดกลาง 



6.  ตัดหลอดให้มี ขนาดสั้นและขนาดกลาง ขนาดของแก้วเท่ากัน




วิธีการเล่น (How to play)
สาเหตุที่แก้วเกิดเสียงได้ : เป็นเพราะว่าเรารูดนิ้วที่หลอด หลอดจะเกิดการสั่นสะเทือนทำให้เกิดคลื่นเสียงโดยมีแก้วที่มีช่องว่างตรงกลาง ทำหน้าที่ขยายเสียงให้ดังก้องมากขึ้น และจากการที่คลื่นเสียงกระทบผนังแก้วและก็สะท้อนกลับไปมา ก็ทำให้เสียงเกิดนานขึ้นด้วย




Friends fo Science Toy
  1. ลูกข่างหลากสี
  2. ไก่กระต๊าก
  3. ขวดผิวปาก : เด็กสามารถทำได้เองบางขั้นตอน
  4. กระป๋องโยกเยก
  5. ดินสอกังหันลม
  6. หลอดปั้มน้ำ : เหมาะกับการทดลอง (Experiment)
  7. ไหมพรมเต้นระบำ
  8. กล้องส่องทางไกล (มี 2 สี ได้แก่ Blue Color and Red Color)
  9. กลองลูกโป่ง
  10. หลอดหมุนได้
  11. ตุ๊กตาล้มลุก
  12. ลูกปิงปองหมุนติ้วๆ
  13. เรือใบ
  14. วงกลมหรรษา : เหมาะกับกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (Experience-Enhancement Activities)
  15. รถพลังลม
  16. แผ่น CD หมุนติ้ว
  17. ลูกข่างหรรษา
  18. นาฬิกาน้ำ : เหมาะกับกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (Experience-Enhancement Activities) และมุม Science
  19. เสียงพรุ
  20. ปืนลูกโป่ง
  21. หนูน้อยกระโดดร่ม
  22. ขวดหนังสติก
  23. คลื่นทะเลขวด
  24. เหวี่ยงมหาสนุก
  25. แท่นยิงลูกบอลจากไม้ไอศครีม
  26. เครื่องร่อนวงแหวน
  27. รถแข่ง
  28. หลอดเสียง สูง - ต่ำ
  29. โทรศัพท์จากแก้วพลาสติก
  30. น้ำเปลี่ยนสี
  31. หนังสติกหรรษา
  32. แม่เหล็กตกปลา
  33. เชียร์ลีดเดอร์
  34. นักดำน้ำ
  35. ลานหรรษา
  36. ปิ๊งป่อง
  37. กระป๋องบูมเมอแรง (Boomerang)
  38. แมลงปอหมุน
  39. กบกระโดด
  40. แก้วส่งเสียง
  41. เป่าให้ลอย
  42. หนังสติ๊กไม้ไอศครีม
  43. แมงกะพรุน (Jellyfish)
  44. มหัศจรรย์ฝาหมุน
  45. แก้วกระโดด
  46. กังหันไฟฟ้าสถิต (Static Electricity)
  47. เครื่องบินกระดาษ (Paper Plane)



เทคนิคการสอน (Teaching methods)
  1. ส่งเสริมหาความรู้เพิ่มเติมมาสนับสนุนสื่อ
  2. เปิดโอกาศให้ถามคำถาม
  3. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS)
การนำไปประยุกต์ใช้ (Applications) 
  1. สื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ต้องง่าย ไม่ซับซ้อน เด็กสามารถทำเองได้
  2. การนำสิ่งของเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่เกิดประโยชน์ หรือ รียูส (Reuse)
  3. การประดิษฐ์ได้รับทั้งความรู้ ประสบการณ์ และการแก้ไขปัญหา
  4. ส่งเสริมในด้านความคิดสร้างสรรค์
ประเมินการเรียนการสอน (Assessment)
  • ตนเอง : 95% แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเรียนตรงเวลา ร่วมตอบคำถามในชั้นเรียน
  • เพื่อน : 90% ทุกคนตั้งใจทำสื่อ มีความคิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์ชิ้นงานของตนเอง มีความเตรียมพร้อม
  • อาจารย์ : 98% เข้าสอนตรงเวลา เพิ่มเติมความรู้ให้กับนักศึกษาในการประดิษฐ์สื่อของเล่น





วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 7

วันที่  2 ตุลาคม พ.ศ. 2557



**เนื่องจากดิฉันติดธุระจึงไม่มามาเรียน**
แต่ศึกษาจาก นางสาวธนภรณ์  คงมนัส

ความรู้ที่ได้รับ (knowledge)
  • ทฤษฎีการเรียนรู้ Constructivism : Cink
อาจารย์ให้ทำของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ทำจากแกนกระดาษทิชชู
 อุปกรณ์ (Equipment)
1. กระดาษสี (Color Paper)


2. กรรไกร (Scissors)


3.ไหมหรม (Yarn)


4.แกนกระดาษทิชชู (Tissue Paper)


5.กาว (Glue)


วิธีทำ (How to)
1.นำแกนกระดาษทิชชูมาตัดแบ่งครึ่ง



2.นำที่เจาะกระดาษ เจาะรูข้างละ 2 รู




3.ร้อยไหมพรมผ่านรูทั้ง 4 รู




4.วาดรูปสัตว์ลงในกระดาษสี




5.นำรูปที่วาดเสร็จเรียบร้อย มาติดกาวและปะลงที่แกนกระดาษทิชชู




วิธีการเล่น (How to play)


นำเสนอบทความ ( Science Articles )
บทความที่ 16
1.เรื่อง สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทยาศาสตร์ "เป็ด" และ "ไก่" : Cick
บทความที่ 17
2.เรื่อง จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ...สนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์ : Cick
บทความที่ 18
3.เรื่อง สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ (Natural Phenomena) : Cick
บทความที่ 19
4.เรื่อง สอนลูกเรื่องอากาศ (Teaching Children about Weather) : Cick

สรุปบทความ Mild Map ดังนี้

เทคนิคการสอน (Teaching methods)
  1. ให้ลงปฏิบัติด้วยตนเอง
  2. เปิดโอกาศให้ถามคำถาม
  3.  การสอนในเรื่องของการอภิปาย
การนำไปประยุกต์ใช้ (Applications) 
  1. เนื้อหาในการสอนต้องเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเด็ก
  2. สามารถนำมาบูรณาการในวิชาอื่น
  3. นำสิ่งของเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่เกิดประโยชน์